ิีbitcion
Leader's Vision

Bitcoin หรือเหรียญคริปโต สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร

Bitcoin : จากข่าวดังครั้งที่แล้ว กลายเป็นเรื่องราวที่ชวนคิด และก่อให้เกิดเป็นความกังวลว่า เหรียญคริปโต หรือบิตคอยน์ ในอนาคตจะเป็นยังไงต่อไป..? จะสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากน้อยแค่ไหน เพราะตอนนี้ปัจจุบันก็มีหลายเหรียญเกิดขึ้นมาใหม่มากมาย มีการซื้อขายกันมากขึ้น มีการขุดกันมากขึ้น คนที่ไม่อยากซื้อขาย ก็หันมาลงทุนซื้อเครื่องขุดบิตคอยน์มาแทน ทำให้กระแสนั้นมีมาโดยตลอด เป็นประเด็นร้อนที่น่าจับตา เหตุผลของอีลอน มัสก์คือ “กังวลเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม” ซึ่งเป็นเหตุผลเดียวกับที่บิล เกตส์ ผู้ก่อตั้งไมโครซอฟท์ เคยกล่าวไว้ว่าเขาไม่คิดจะลงทุนในบิตคอยน์ ...
น้ำมันรั่วในทะเล
TOP STORIES

น้ำมันรั่วในทะเล กระทบสิ่งแวดล้อมอย่างไร

น้ำมันรั่วในทะเล กระทบสิ่งแวดล้อมอย่างไร ปัญหาล่าสุดของประเทศไทยที่กำลังเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุการน้ำมันรั่วในทะเล ซึ่งวันนี้เราจะมาวิเคราะห์กันครับว่า ปัญหาน้ำมันรั่วในทะเล เกิดปัญหาอะไรกันบ้าง และเราต้องสูญเสียอะไรกันบ้าง ต้องมารับชมกันเลยครับ ในคืนวันที่ 25 มกราคม 2565 ท่อน้ำมันดิบใต้ทะเลบริเวณอ่าวมาบตาพุด จ.ระยอง เกิดการรั่วไหล บริเวณทุ่นผูกเรือน้ำลึกแบบทุ่นเดี่ยวกลางทะเลหรือจุดขนถ่ายน้ำมันในทะเลของบริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกัด (มหาชน) ซึ่งอยู่ห่างจากชายฝั่งท่าเรือมาบตาพุดไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ ...
30 วิธีช่วยโลกได้ง่ายๆ แม้ได้เป็นฮีโร่
TOP STORIES

30 วิธีช่วยโลกได้ง่ายๆ แม้ไม่ได้เป็นฮีโร่

30 วิธีช่วยโลกได้ง่ายๆ แม้ไม่ได้เป็นฮีโร่ โลกต้องการความช่วยเหลือ ไม่ใช่แค่เพียงใครบางคนในการแก้ไข แต่ต้องการความช่วยเหลือจากทุกคน โลกกำลังประสบปัญหามากมาย ธรรมชาติกำลังผิดเพี้ยน เพราะผลกระทบจากมนุษย์ที่ไม่สนใจดูแลโลก ใส่ใจธรรมชาติเป็นอย่างมาก ซึ่งวันนี้เรามีคำแนะนำหากใครต้องการช่วยโลกได้ง่ายๆ แม้ไม่ได้เป็นฮีโร่ เทคนิคช่วยโลกที่ทุกคนช่วยกันได้ 1. ปิดน้ำเมื่อไม่ได้ใช้ และดูแลจุดรั่วของน้ำในบ้าน 2. ถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้ 3. ซักผ้าด้วยน้ำเย็น ทั้งช่วยถนอมผ้า และช่วยลดพลังงาน 4. ...
แนวทางการจัดการขยะทั่วไป เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขึ้นชื่อว่าขยะมักจะตามมาด้วยผลกระทบในเชิงลบซะเป็นส่วนใหญ่ แน่นอนว่าหากกระบวนการกำจัดขยะเป็นไปอย่างไม่ถูกวิธีแล้ว
TOP STORIES

แนวทางการจัดการขยะทั่วไป เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม

แนวทางการจัดการขยะทั่วไป เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขึ้นชื่อว่าขยะมักจะตามมาด้วยผลกระทบในเชิงลบซะเป็นส่วนใหญ่ แน่นอนว่าหากกระบวนการกำจัดขยะเป็นไปอย่างไม่ถูกวิธีแล้ว ย่อมเกิดผลเสียตามมาอีกมากมาย ซึ่งขยะเองก็มีหลายประเภท หนึ่งในนั้นที่พบได้มากก็คือ “ขยะทั่วไป” มองเผิน ๆ ดูเป็นขยะธรรมดา ๆ ที่พบได้บ่อย แต่หากกำจัดไม่ถูกวิธีก็จะเกิดปัญหาได้เช่นเดียวกับขยะประเภทอื่น ๆ เราจะมาดูแนวทางการจัดการขยะทั่วไปกันค่ะ ขยะมูลฝอยคืออะไร ขยะมูลฝอย คือ เศษสิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลต่างๆ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ...
ขยะล้นโลก
TOP STORIES

ขยะล้นโลก เมื่อทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย

ขยะล้นโลก เมื่อทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย ในช่วงหลายปีให้หลังมานี้ ปัญหาธรรมชาติได้เดินทางมาสู่จุดวิกฤต และยังคงมีแนวโน้มที่จะแย่ลงเรื่อย ๆ ปัจจัยหลัก ๆ มาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรที่มาพร้อมกับความต้องการในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากทรัพยากรธรรมชาติจะถูกทำลายและใช้ไปจนจะหมดแล้ว ปัญหาสำคัญที่ตามมาแบบมากขึ้นเรื่อย ๆ คือ “ขยะล้นโลก” เมื่อเกิดการใช้มาก ขยะก็มาก แต่ระบบการจัดการ ทำลาย กลับสวนทางกัน จึงเกิดคำถามขึ้นมาว่า จริงหรือไม่ เมื่อทรัพยากรธรรมชาติถูกทำลาย ขยะก็จะล้นโลก? ...
ทริปท่องอวกาศ
TOP STORIES

จับตาทัวร์ท่องอวกาศ กับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

จับตาทัวร์ท่องอวกาศ กับผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมตั้งคำถามต่อผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม หลังบริษัทยักษ์ใหญ่หลายค่ายเดินหน้าอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอวกาศกันอย่างสุดตัว ผู้เชี่ยวชาญระบุว่าการปล่อยตัวของจรวดแต่ละครั้งจะสร้างก๊าซเรือนกระจกมหาศาล โดยการเดินทางท่องอวกาศ 400 เที่ยวต่อปี เป็นระยะเวลา 40 ปี จะทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกมากพอ ที่จะทำให้อุณหภูมิในทวีปอาร์กติกเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส แม้ว่าอุตสาหกรรมการท่องอวกาศจะเล็กกว่าอุตสาหกรรมการบินพาณิชย์หลายเท่า แต่การที่จรวดถูกปล่อยขึ้นไปในแนวดิ่งจะทำให้สามารถปล่อยมลพิษในชั้นบรรยากาศแต่ละชั้นได้โดยตรง จึงแตกต่างจากการบินเครื่องบินพาณิชย์โดยสิ้นเชิง หลายคนคงเริ่มคุ้นชินกับคำว่าทัวร์อวกาศ หรือทริปท่องอวกาศกันบ้างแล้ว เพราะในปีที่ผ่านมามีการเดินหน้าทัวร์อวกาศไปแล้วหลายครั้ง จนกลายเป็นข่าวโด่งดังในปีนี้ ซึ่งแม้ว่าจะนับเป็นก้าวสำคัญของมวลมนุษยชาติ ที่ประกาศความสำเร็จของมนุษย์โลกต่อการพิชิตอวกาศในโลกอนาคต ...
มาทำความรู้จักกับก๊าซเรือนกระจกกันเถอะ
TOP STORIES

มาทำความรู้จักกับก๊าซเรือนกระจกกันเถอะ

มาทำความรู้จักกับก๊าซเรือนกระจกกันเถอะ รู้สึกกันไหมคะ ว่าเดี๋ยวนี้โลกเราร้อนขึ้นเยอะเลย เราก็คงได้เคยผ่านตา ผ่านหู กันมาหลายครั้งแล้ว เกี่ยวกับการรณรงค์เรื่องภาวะโลกร้อน หลายคนกลับมามองแต่ว่าปัญหาโลกร้อนเกิดจากน้ำแข็งขั้วโลกละลาย แต่จริง ๆ พฤติกรรมของมนุษย์ก็เป็นสาเหตุสำคัญ แม้ว่าธรรมชาติจะมีกลไกการป้องกันที่เรียกว่า “ภาวะเรือนกระจก” ที่จะคอยควบคุมให้อุณหภูมิของโลกสมดุล เหมาะสมสำหรับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต แต่ทว่า สถานการณ์ตอนนี้ ปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศของโลกเราขณะนี้มากเกินจุดที่เรียกว่า “สมดุล” จึงเกิดปัญหาตามมามากมาย เราจึงจะพาไปทำความรู้จักกับเจ้าก๊าซเรือนกระจกนี้กัน ก๊าซเรือนกระจก คืออะไร ...
กระดาษรียูส VS กระดาษรีไซเคิล แตกต่างกันอย่างไร
TOP STORIES

กระดาษรียูส VS กระดาษรีไซเคิล แตกต่างกันอย่างไร

กระดาษรียูส VS กระดาษรีไซเคิล แตกต่างกันอย่างไร เราอาจจะเคยได้ยินการนำกระดาษกลับมาใช้ใหม่กันบ้าง ซึ่งบางคนก็เรียกมันว่า “กระดาษรียูส” แต่บางคนก็เรียกว่า “กระดาษรีไซเคิล” สงสัยกันไหมคะ ว่ากระดาษทั้งสองชนิดเหมือนกัน หรือแตกต่างกันอย่างไร แต่ที่ แน่ ๆ ทั้งสองนำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งคู่ เราจะไปหาคำตอบนั้นกัน รียูส คืออะไร? รียูส (Reuse) คือ การนำวัสดุที่เป็นขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์เพื่อให้เกิดคุณค่ามากที่สุด ...
พลังงาน ชีวมวล
Life

พลังงาน ชีวมวล มีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง

พลังงาน ชีวมวล มีข้อดี ข้อเสียอะไรบ้าง ปัจจุบันนี้เชื่อได้เลยว่าหลายๆ คนก็คงจะใส่ใจในเรื่องของพลังงานไม่มากก็น้อย เพราะพลังงานของโลกใบนี้มีแต่จะลดลงไปทุกวันๆ หากไม่ช่วยกันแก้ไขแล้วก็เป็นไปได้ว่าเราอาจจะแบกรับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้มากที่สุด แต่อย่างไรก็ดี การใช้พลังงานชีวมวลได้ถือว่าเป็นสิ่งที่เหมาะสมและตอบโจทย์อย่างมากสำหรับหลายๆ คน โดยอยากให้ ทุกคน รู้ว่าประโยชน์พลังงานชีวภาพ ชีวมวลเป็นเรื่องที่ไม่ไกลตัวเราเลย มาดูข้อมูลดีๆ ไปพร้อมๆ กัน พลังงาน ชีวมวล ชีวภาพ คืออะไร ต้องบอกเลยว่ามนุษย์ได้นำเอาชีวมวลมาใช้เป็นพลังงานตั้งแต่สมัยเก่าก่อน ...
cop26
TOP STORIES

การประชุม COP26 ในกลาสโกว์ตกลงอะไรกันได้บ้าง

การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ ได้ปิดฉากลงเมื่อวันที่ 13 พ.ย. โดยมีการบรรลุข้อตกลงเพื่อควบคุมปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการผลักดันให้ยุติการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล อย่างไรก็ตาม ผู้นำและนักรณรงค์ด้านสภาพภูมิอากาศหลายคนระบุว่า ข้อตกลงนี้ยังไม่มีมาตรการเพียงพอที่จะควบคุมอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกไม่ให้สูงขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียสได้ โดยในนาทีสุดท้ายก่อนหน้าจะมีการบรรลุข้อตกลงนี้ จีนและอินเดียได้ขอให้มีการแก้ไขถ้อยคำในข้อตกลงว่าด้วยการใช้พลังงานถ่านหิน ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจกมากที่สุด จากเดิมคือคำว่า “ยุติการใช้” มาเป็นคำว่า “ลดการใช้” ...

Posts navigation