ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตให้ดำรงอยู่ได้
เมื่อมองไปบนท้องฟ้าคงอดคิดไม่ได้บนนั้นคงมีเทวดานางฟ้า นั้นเป็นเพียงจินตนาการเท่านั้น แท้จริงแล้วโลกของเราเต็มไปมวลสารต่าง ๆ อันได้แก่ ไอน้ำ ฝุ่นละออง แก๊สชนิดต่าง ๆ เหล่านี้คือส่วนประกอบ ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงอยู่ได้ โดยเราจะเริ่มกันองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้
- สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้สามารถมีชีวิตอยู่ได้เพราะชั้นบรรยากาศ 78.08% เป็นออกซิเจน, 20.94% อาร์กอน เป็นก๊าซเฉื่อยที่อยู่ในอากาศ, 0.93% คาร์บอนไดออกไซด์ที่จะออกมาจากถอนหายใจออกมีทั้งในคน สัตว์และต้นไม้, 0.03% และอื่น ๆ อีก 0.2% นอกจากนี้ด้วยความที่อากาศไม่ได้แห้งสนิท ในอากาศจึงจะมีไอน้ำปนอยู่ที่ 0 ไปจนถึง 4%
- ไอน้ำ ไม่เพียงอยู่แค่ในอากาศเท่านั้น แต่ยังเกิดจากการระเหยตามจากแหล่งต่าง ๆ ทำให้เกิดฝน ลม พายุ ฟ้าแลบ และฟ้าร้อง
- อนุภาคของแข็งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและจากฝีมือมนุษย์ ได้แก่ ฝุ่นละออง ควันไฟ
5 ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ ในแต่ละส่วน
ชั้นที่ 1 โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) เป็นชั้นที่อยู่นอกสุดระดับความสูงจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 0-10 กิโลเมตร ซึ่งชั้นนี้จะเต็มไปด้วยไอน้ำ เมฆ หมอกและพายุ โดย ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ เป็นเกราะป้องกันรังสีแกมมาจากอวกาศถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีอันตรายและรังสีเอ็กซ์จากดวงอาทิตย์ ทั้งหมดเมื่อทำปฏิกิริยาร่วมกันทำให้มีสมบัติสะท้อนคลื่นวิทยุความถี่สูง (High Frequency) สตราโทสเฟียร์ (Stratosphere) มีความสูงตั้งแต่ 10-50 กิโลเมตร เป็นชั้นที่ไม่มีเมฆ มักใช้ในการเดินทางทางอากาศ เช่น การเดินทางโดยใช้เครื่องบิน
ชั้นที่ 2 สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere) เป็นชั้นที่สูงจากพื้นดินขึ้นไปประมาณ 12-50 กิโลเมตร มีไอน้ำเล็กน้อยเป็นส่วนประกอบ แต่ไม่มีเมฆ ด้วยความที่อากาศมีการเคลื่อนตัวช้า จึงสามารถเดินทางท่องอากาศได้ ซึ่งมีแก๊สโอโซนเป็นส่วนสำคัญ ทำหน้าที่ดูดรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิจึงมีความต่ำมาก -60 ถึง 10 องศาเซลเซียส หากระดับสูงขึ้นมากเท่าไหร่อุณหภูมิจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ชั้นที่ 3 มีโซสเฟียร์ (Mesosphere) เป็นชั้นที่อยู่ระดับกลางความสูงจากพื้นดินขึ้นไประมาณ 50-80 กิโลเมตร ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศนี้จะทำหน้าที่สร้างแรงเสียดทานเมื่อมีอุกาบาตรตกลงสู่โลก เราจึงสามารถมองเห็นเป็นดาวตกนั้นเอง
ชั้นที่ 4 ชั้นไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) 80-700 เป็นที่มีอากาศเบาบางด้วยความที่ชั้นนี้ทำหน้าที่ช่วยดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ จึงทำให้อุณหภูมิสูงถึง 2,000 องศาเซลเซียส มีอนุภาคเป็นประจุไฟฟ้าที่เรียกว่า “อิออน” มีคุณสมบัติสะท้อนคลื่นวิทยุสื่อสาร ที่สำคัญยังเป็นที่มาของ ออโรรา หรือที่เรียกกันว่าแสงเหนือและแสงใต้
ชั้นที่ 5 ชั้นเอ็กโซสเฟียร์ (Exosphere) 700-800 กิโลเมตร เป็นความมสูงที่เข้าสู่อาวกาศ แน่นอนว่าเมื่อความสูงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อากาศจะค่อย ๆ เจือจางลงในที่สุด
ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ ต่อมวลมนุษยชาติ
1.เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ชั้นบรรยากาศของโลก จะช่วยปรับอุณหภูมิของโลก อย่างในช่วงตอนกลางวันหากไร้ซึ่งอากาศอุณภูมิจะสูงถึง 110 องศาเซลเซียส แต่ด้วยกลไกลของโลกทำให้ไม่ร้อนจัดเกินไป เพราะอากาศช่วยห่อหุ้มดูดความร้อนจากดวงอาทิตย์ให้เป็นอุณหภูมิอบอุ่น ในตอนกลางคืนเช่นกันความเย็นจะติดลบที่ -180 องศาเซลเซียสหากไร้ซึ่งอากาศ
2.ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ ช่วยป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลต (รังสีเหนือม่วง) เป็นรังสีที่มาจากดวงอาทิตย์จะทำอันตรายต่อผิวหนังของมนุษย์ จะถูกแก๊สโอโซนบรรยากาศดูดซับไว้บางส่วน และปล่อยรังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณที่เหมาะสมมายังโลก
3.ชั้นบรรยากาศจะช่วยปกป้องกันอันตรายที่มาจากนอกโลก อย่างอุกกาบาตหรือสะเก็ดดาวเคราะห์ เมื่อสิ่งเหล่านี้พุ่งมายังผิวโลกจะเสียดสีกับอากาศที่ห่อหุ้มโลก โดยการเผาไหม้และทำให้มีขนาดเล็กลงก่อนตกลงสู่ผิวโลก
4.ชั้นบรรยากาศทำให้เกิดแก๊สต่าง ๆ ที่มีผลต่อกระบวนการใช้ชีวิต อย่างเช่น แก๊สออกซิเจนช่วยในเรื่องของการหายใจของสิ่งมีชีวิตและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นกระบวนที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
จากข้อมูลข้างต้นคุณคงได้เห็นแล้วว่า ชั้นบรรยากาศของโลก ประโยชน์ ต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอย่างไร ซึ่งโลกเป็นดาวเคราะห์ที่มีความสมบูรณ์แบบที่สุด เพราะมีกระบวนการทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นเพื่อให้ทุกสิ่งบนโลกอาศัยอยู่ได้ มีทั้งน้ำ อากาศ แก๊ส แร่ธาตุต่าง ๆ อย่างไรก็ตามเพื่อให้โลกมีอายุยืดยาวและเราอาศัยอยู่แบบไม่ได้รับผลกระทบรุนแรง เราจะต้องช่วยกันรักษาสภาพแวดล้อม เพราะในเวลานี้เกิดภาวะโลกร้อนล้วนมาจากน้ำมือของมนุษย์ทั้งสิ้น หากปล่อยไว้อาจถึงวันสิ้นโลก
ติดตามข่าวสารและบทความเกี่ยวกับ The Sustain – ธุรกิจและความยั่งยืน พลังงาน ภาวะโลกร้อน ทรัพยากรธรรมชาติ